วันพุธที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

วิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน




          http://www.neric-club.com/data.php?page=2&menu_id=76 ได้รวบรวมเกี่ยวกับวิธีการสอนแบบสืบสวนสอบสวนดังนี้
 ความมุ่งหมายของการสอบแบบสืบสวนสอบสวน
1. เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนสืบสวนสอบสวนความรู้หรือข้อเท็จจริงด้วยตนเอง
2. เพื่อฝึกให้นักเรียนรู้จักคิดหาเหตุผล
3. เพื่อฝึกให้นักเรียนรู้จักคิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง
ขั้นตอนของวิธีการสอนแบบสืบสวนสอบสวน
ขั้นที่ 1 การสังเกต (Observation) หลังจากกำหนดประเด็นปัญหา ให้นักเรียนสังเกตสภาพ
แวดล้อมที่ก่อให้เกิดปัญหา พยายามนำความคิดรวบยอดเดิมมาแก้ปัญหาโดยคิดหาเหตุผล จัดลำดับความคิดในรูปแบบต่างๆ ให้สอดคล้องสัมพันธ์กับสภาพการณ์อันเป็นปัญหานั้น
ขั้นที่ 2 การอธิบาย (Explanation) นักเรียนจัดระบบความคิด ตั้งสมมุติฐานเพื่ออธิบาย
ความคิดรูปแบบต่างๆ ในการแก้ปัญหา ทบทวนความคิด และทำความเข้าใจปัญหานั้นๆให้ชัดเจน
ขั้นที่ 3 การทำนาย (Prediction) เมื่ออธิบายความคิดรูปแบบต่างๆ ในการแก้ปัญหาแล้วให้นักเรียนทำนายหรือพยากรณ์ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้อีกว่าเมื่อเกิดแล้วผลเป็นอย่างไรและแก้ไขอย่างไร
ขั้นที่ 4 การนำไปใช้และสร้างสรรค์ (Control and Creativity) นักเรียนสามารถนำเหตุผลและความเข้าใจในการแก้ปัญหาไปใช้ประโยชน์ให้กว้างไกลในชีวิตประจำวันได้ รวมทั้งมีความคิดสร้างสรรค์นำไปใช้ในสภาพการณ์อื่นๆ
ข้อดีของวิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน
1. นักเรียนสามารถใช้ความคิด สติปัญญาและประสบการณ์เดิมของตนเองอย่างมีอิสระ
2. ช่วยส่งเสริมให้นักเรียนเป็นคนช่างสังเกต มีเหตุผลไม่เชื่ออะไรง่ายๆ โดยไม่ตรวจสอบ
3. นักเรียนเกิดความเชื่อมั่น กล้าแสดงความคิดเห็น
ข้อสังเกตของวิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน
1. ครูมีบทบาทสำคัญในการสอนแบบสืบสวนสอบสวน เนื่องจากครูต้องป้อนคำถามให้กับ
นักเรียนเพื่อนำไปสู่การคิดค้นคว้า
2. ครูต้องให้โอกาสนักเรียนทั้งห้องในการอภิปราย วางแผน และกำหนดวิธีการแก้ปัญหาเอง
3. ปัญหาที่กำหนดเพื่อสืบสวนสอบสวนไม่ควรยากเกินความสามารถของนักเรียน
        http://innovation.kpru.ac.th/web18/551121844/innovation/index.php/learning2 ได้รวบรวมเหี่ยวกับวิธีการสอนแบบสืบสวนสอบสวนไว้ว่า การสอนแบบสืบสวนสอบสวน หมายถึง การสอนที่มีระบบการจัดการเรียนรู้ โดยครูผู้สอนจะทำหน้าที่สร้างสถานการณ์ที่น่าสนใจและท้าทาย เพื่อทำให้เกิดแรงกระตุ้นต่อผู้เรียน ผู้เรียนเห็นความสำคัญของปัญหาและเกิดการเรียนรู้ด้วยการสืบสวนสอบสวนจากข้อมูลที่มีอยู่ เพื่อให้ได้พบคำตอบ เป็นการเรียนรู้ที่เกิดจากการสังเกต อธิบาย พยากรณ์ และนำไปใช้ เป็นแนวทางในการแก้ปัญหาด้วยตนเองและสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับกิจกรรมที่ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างหลากหลาย
 ความมุ่งหมายของการสอบแบบสืบสวนสอบสวน
1. เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนสืบสวนสอบสวนความรู้หรือข้อเท็จจริงด้วยตนเอง
2. เพื่อฝึกให้นักเรียนรู้จักคิดหาเหตุผล
3. เพื่อฝึกให้นักเรียนรู้จักคิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง
 ขั้นตอนของวิธีการสอนแบบสืบสวนสอบสวน
 ขั้นที่ 1 การสังเกต (Observation) หลังจากกำหนดประเด็นปัญหา ให้นักเรียน
สังเกตสภาพแวดล้อมที่ก่อให้เกิดปัญหา พยายามนำความคิดรวบยอดเดิมมา
แก้ปัญหาโดยคิดหาเหตุผล จัดลำดับความคิดในรูปแบบต่างๆ ให้สอดคล้อง
สัมพันธ์กับสภาพการณ์อันเป็นปัญหานั้น
 ขั้นที่ 2 การอธิบาย (Explanation) นักเรียนจัดระบบความคิด ตั้งสมมุติฐานเพื่อ
อธิบายความคิดรูปแบบต่างๆ ในการแก้ปัญหา ทบทวนความคิด และทำความ
เข้าใจปัญหานั้นๆให้ชัดเจน
 ขั้นที่ 3 การทำนาย (Prediction) เมื่ออธิบายความคิดรูปแบบต่างๆ ในการ
แก้ปัญหาแล้วให้นักเรียนทำนายหรือพยากรณ์ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้อีกว่าเมื่อ
เกิดแล้วผลเป็นอย่างไรและแก้ไขอย่างไร
 ขั้นที่ 4 การนำไปใช้และสร้างสรรค์ (Control and Creativity) นักเรียนสามารถ
นำเหตุผลและความเข้าใจในการแก้ปัญหาไปใช้ประโยชน์ให้กว้างไกลในชีวิต
ประจำวันได้ รวมทั้งมีความคิดสร้างสรรค์นำไปใช้ในสภาพการณ์อื่นๆ
 บทบาทของครูในการสอนแบบสืบสวนสอบสวน
คาลลาฮาน และลีโอนาด (Callahan ;& Leonard. 1988: 261-262) ได้กล่าวถึง
บทบาทของครูในการสอนแบบสืบสวนสอบสวน ซึ่งสรุปได้ ดังนี้
1. ครูมีหน้าที่ให้คำแนะนากับนักเรียนมากกว่าบอกให้นักเรียนทำตาม
2. ครูตั้งคำถามเลือกประเด็นที่น่าสนใจเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนคิดและพยายาม
ค้นหาคำตอบ
3. ในขณะที่นักเรียนค้นหาคำตอบ ครูควรแนะนำในการค้นพบ โดยหาความชัดเจน
ของปัญหา
4. ครูพยายามสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนที่เป็นการส่งเสริม การสร้าง ข้อคาดเดา
การตั้งข้อสงสัย และการคิดแก้ปัญหา
5. สนับสนุนให้นักเรียนตั้งสมมติฐาน เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ตรวจสอบสมมิตฐาน
ด้วยตนเอง
6. ช่วยนักเรียนในการวิเคราะห์และประเมินความคิดของตนเอง โดยเปิดโอกาสให้
มีการอภิปรายในชั้นเรียนพยายามกระตุ้นให้นักเรียนคิด ไม่ข่มขู่เมื่อคำตอบไม่เป็น
ดังที่คาดหวัง
 ข้อดีและข้อจำกัดของการสอนแบบสืบสวนสอบสวน
บราวน์ (Brown. 1997: 20-21) ได้สรุปไว้ดั้งนี้
 ข้อดีของการสอนแบบสืบสวนสอบสวน
1. ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง จากการค้นพบคำตอบด้วยตนเอง เป็นการ
ส่งเสริมความกระตือรือร้นการเอาใจใส่และการรับผิดชอบในกิจกรรม
2. เกิดกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเองในการสืบสวนสอบสวน และต้องมีการปรึกษา
ข้อมูลต่อผู้เรียนด้วยกันเพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและเกิดการเรียนรู้
อย่างหลากหลายและได้แนวทางการพัฒนาระบบความคิดได้มากขึ้น
3. ความรู้ที่ได้มาจากประสบการณ์จริง จากการทำกิจกรรม จะช่วยให้สามารถ
แก้ปัญหาจากเหตุการณ์จริงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์
ต่อตนเองได้
4. ผู้สอนจะพบว่าการเรียนการสอนแบบสืบสวนสอบสวน จะดีกว่าที่ครูผู้สอนคอย
บรรยายความรู้เพียงอย่างเดียว เพราะจุดประสงค์การเรียนรู้ที่คาดหวังต้องการให้
นักเรียนรู้จักการสืบค้นคว้าหาความรู้จากข้อมูล เป็นการเรียนรู้และการตัดสินใจ
ของผู้เรียนเอง
5. การเรียนการสอนแบบสืบสวนสอบสวน เป็นการออกแบบกิจกรรมให้ผู้เรียน
ได้เรียนรู้จริง และปฎิบัติจริง จนเกิดการเรียนรู้ในการตัดสินใจที่ดี
6. หลักสูตรจะมีชุดการเรียนที่เหมาะสมกับผู้เรียนและสามารถพัฒนาความคิดของ
ผู้เรียนได้ตลอดเวลาและเกิดประสิทธิภาพมากกว่าเดิม
 ข้อจากัดของการสอนแบบสืบสวนสอบสวน
1. ข้อมูลที่มีอาจถูกจากัด และอยู่ในเวลาที่ระบุตามกิจกรรม
2. ผู้เรียนไม่สนใจศึกษาและแสดงความคิดเห็นเพราะไม่เข้าใจบทบาทของตนเอง
3. ผู้สอนต้องมีความรับผิดชอบสูงและสร้างความพึงพอใจต่อผู้เรียน
4. เกิดการเปรียบเทียบระหว่างการสอนแบบบรรยายและการสอนแบบสืบสวน
สอบสวน ที่ต้องแสดงความคิดในเวลาจำกัด
5. ผู้เรียนประสบปัญหาในด้านแนวความคิดและการเรียนรู้คำตอบ จากข้อมูล
 ข้อสังเกตของวิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน
1. ครูมีบทบาทสำคัญในการสอนแบบสืบสวนสอบสวน เนื่องจากครูต้อง
ป้อนคำถามให้กับนักเรียนเพื่อนำไปสู่การคิดค้นคว้า
2. ครูต้องให้โอกาสนักเรียนทั้งห้องในการอภิปราย วางแผน และกำหนดวิธีการ
แก้ปัญหาเอง
3. ปัญหาที่กำหนดเพื่อสืบสวนสอบสวนไม่ควรยากเกินความสามารถของนักเรียน
        วันเพ็ญ  วรรณโกมล (2538:147-148) ได้กล่าวถึงวิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวนไว้ดังนี้ วิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน หมายถึง การสอนที่เป็นการพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหา ด้วยวิธีการฝึกให้ผู้เรียนได้รู้จักค้นคว้าหาความรู้โดยใช้กระบวนการทางความคิดหาเหตูผล จนค้นพบความรู้ หรือแนวคิดทางแก้ปัญหาที่ถูกต้องด้วยตนเอง โดยครูตั้งคำถามประเภทกระคุ้นให้ผู้เรียนใช้ความคิดหาวิธีการแก้ปัญหาได้เอง และสามารถนำการแก้ปัญหานั้นมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบสืบสวนสอบสวน วีรยุทธ วิเชียรโชติ (2521:52) ได้กล่าวถึงขั้นตอนในการสอนแบบสืบสวนสอบสวนว่ามี 5 ขั้นตอน ดังนี้
1.ขั้นการให้สังกัปแนวหน้า คือ ขั้นที่ครูปูพื้นความพร้อมในด้านความรู้ และการสร้างแรงจูงใจให้ผู้เรียนเกิดความกระหายใครจะแสวงหาความรู้
2.ขั้นสังเกตุ คือ ขั้นที่ครูสร้างสถานการณ์ที่เป็นปัญหา หรือเป็นการแสดงละครปริศนา เพื่อให้ผู้เรียนสังเกตสภาพการณ์ หรือสิ่งแวดล้อมที่เป็นปัญหานั้นๆขั้นนี้ครูส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ฝึกคิด วิเคราะห์ ทำความเข้าใจแปลความหมาย และจัดโครงสร้างความคิดในรูปแบบต่างๆ เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา
3.ขั้นอธิบาย เป็นขั้นที่ครูกระตุ้นให้ผู้เรียนหาคำอธิบายหรือหาเหตุผลของปัญหาในรูปของการใช้เหตุผล ในขั้นนี้ผู้เรียนได้ฝึกการตั้งทฤษฎีหรือสมมติฐาน เพื่ออธิบายที่มา สาเหตุของปัญหานั้นเป็นการฝึกวิเคราะห์ระบบผลไปหาเหตุ
4.ขั้นทำนายและทดสอบ คือ ขั้นที่ผู้เรียนรู้จักหาแนวทางหรือวิธีที่จะพิสูจน์ คำอธิบาย ทฤษฎี และทำนายผลหรือพยากรณ์ได้ว่าผลจะเป็นอย่างไร อะไรจะเกิดขึ้น เป็นการทดสอบสมมติฐานหรือพิสูจน์ทฤษฎีที่ตั้งขึ้น
5.ขั้นควบคุมและสร้างสรรค์เป็นขั้นที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนนำหลักการ กฎเกณฑ์ และวิธีแก้ปัญหามาใช้ในการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมในสภาพการณ์ต่างๆได้อย่างกว้างขวาง
สรุป
          การสอนแบบสืบสวนสอบสวน หมายถึง การสอนที่มีระบบการจัดการเรียนรู้ โดยครูผู้สอนจะทำหน้าที่สร้างสถานการณ์ที่น่าสนใจและท้าทาย เพื่อทำให้เกิดแรงกระตุ้นต่อผู้เรียน ผู้เรียนเห็นความสำคัญของปัญหาและเกิดการเรียนรู้ด้วยการสืบสวนสอบสวนจากข้อมูลที่มีอยู่ เพื่อให้ได้พบคำตอบ เป็นการเรียนรู้ที่เกิดจากการสังเกต อธิบาย พยากรณ์ และนำไปใช้ เป็นแนวทางในการแก้ปัญหาด้วยตนเองและสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับกิจกรรมที่ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างหลากหลาย ซึ่งมีทั้งข้อดีและข้อจำกัด
          ขั้นตอนของวิธีการสอนแบบสืบสวนสอบสวน ได้แก่ 
          ขั้นที่ 1 การสังเกต (Observation) หลังจากกำหนดประเด็นปัญหา ให้นักเรียนสังเกตสภาพ
แวดล้อมที่ก่อให้เกิดปัญหา พยายามนำความคิดรวบยอดเดิมมาแก้ปัญหาโดยคิดหาเหตุผล จัดลำดับความคิดในรูปแบบต่างๆ ให้สอดคล้องสัมพันธ์กับสภาพการณ์อันเป็นปัญหานั้น
         ขั้นที่ 2 การอธิบาย (Explanation) นักเรียนจัดระบบความคิด ตั้งสมมุติฐานเพื่ออธิบาย
ความคิดรูปแบบต่างๆ ในการแก้ปัญหา ทบทวนความคิด และทำความเข้าใจปัญหานั้นๆให้ชัดเจน
         ขั้นที่ 3 การทำนาย (Prediction) เมื่ออธิบายความคิดรูปแบบต่างๆ ในการแก้ปัญหาแล้วให้นักเรียนทำนายหรือพยากรณ์ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้อีกว่าเมื่อเกิดแล้วผลเป็นอย่างไรและแก้ไขอย่างไร

         ขั้นที่ 4 การนำไปใช้และสร้างสรรค์ (Control and Creativity) นักเรียนสามารถนำเหตุผลและความเข้าใจในการแก้ปัญหาไปใช้ประโยชน์ให้กว้างไกลในชีวิตประจำวันได้ รวมทั้งมีความคิดสร้างสรรค์นำไปใช้ในสภาพการณ์อื่นๆ
          ความมุ่งหมายของการสอบแบบสืบสวนสอบสวน
         1. เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนสืบสวนสอบสวนความรู้หรือข้อเท็จจริงด้วยตนเอง
         2. เพื่อฝึกให้นักเรียนรู้จักคิดหาเหตุผล

         3. เพื่อฝึกให้นักเรียนรู้จักคิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง

          ข้อดีของวิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน
         1. นักเรียนสามารถใช้ความคิด สติปัญญาและประสบการณ์เดิมของตนเองอย่างมีอิสระ
         2. ช่วยส่งเสริมให้นักเรียนเป็นคนช่างสังเกต มีเหตุผลไม่เชื่ออะไรง่ายๆ โดยไม่ตรวจสอบ
         3. นักเรียนเกิดความเชื่อมั่น กล้าแสดงความคิดเห็น
         ข้อจากัดของการสอนแบบสืบสวนสอบสวน
         1. ข้อมูลที่มีอาจถูกจากัด และอยู่ในเวลาที่ระบุตามกิจกรรม
         2. ผู้เรียนไม่สนใจศึกษาและแสดงความคิดเห็นเพราะไม่เข้าใจบทบาทของตนเอง
        3. ผู้สอนต้องมีความรับผิดชอบสูงและสร้างความพึงพอใจต่อผู้เรียน
        4. เกิดการเปรียบเทียบระหว่างการสอนแบบบรรยายและการสอนแบบสืบสวนสอบสวน ที่ต้องแสดงความคิดในเวลาจำกัด
        5. ผู้เรียนประสบปัญหาในด้านแนวความคิดและการเรียนรู้คำตอบ จากข้อมูล
        ข้อสังเกตของวิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน
        1. ครูมีบทบาทสำคัญในการสอนแบบสืบสวนสอบสวน เนื่องจากครูต้องป้อนคำถามให้กับ
        นักเรียนเพื่อนำไปสู่การคิดค้นคว้า
        2. ครูต้องให้โอกาสนักเรียนทั้งห้องในการอภิปราย วางแผน และกำหนดวิธีการแก้ปัญหาเอง
        3. ปัญหาที่กำหนดเพื่อสืบสวนสอบสวนไม่ควรยากเกินความสามารถของนักเรียน
ที่มา
         http://www.neric-club.com/data.php?page=2&menu_id=76.วิธีการสอนแบบสืบสวนสอบสวน.สืบค้นเมื่อ 1 กรกฎาคม 2558.
         http://innovation.kpru.ac.th/web18/551121844/innovation/index.php/learning2.              
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน.สืบค้นเมื่อ 1 กรกฎาคม 2558.
         วันเพ็ญ  วรรณโกมล.(2538).การสอนสังคมศึกษาในระดับมัธยมศึกษา.ม.ป.ท.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น